หน้าเว็บ

วันศุกร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557

Adjective - Equivalent


Adjective - Equivalent      คือ "คำที่ใช้เสมือนเป็นคุณศัพท์" ทั้งนี้ก็เนื่องจากว่า คำที่จะนำมาใช้เสมือนหนึ่ง          เป็นคุณศัพท์ที่จะกล่าวต่อไปนี้                                                                                        

1. คำนาม (Noun) นำมาใช้เป็น Adjective ขยายนามด้วยกันได้ แต่ให้วางไว้หน้านามที่มันไปขยายนั้นทุกครั้งไป เช่น                             
Yale University is the place for political studies.                                    
(มหาวิทยาลัยเยลเป็นสถานที่สำหรับการศึกษาวิชาการเมือง)                                                  
ข้อสังเกต : Yale เป็นนามนำมาใช้เป็นคุณศัพท์ขยาย university ซึ่งเป็นนามด้วยกัน                                        
My younger brother wishes to study at Suan Dusit College.                                               
(น้องชายของฉันประสงค์จะเรียนที่วิทยาลัยสวนดุสิต)                                                             
ข้อสังเกต : Suan Dusit เป็นนาม แต่นำมาใช้เป็นคุณศัพท์ขยายนาม college ได้                                
They have worked in New York City for two years.                                             
(พวกเขาได้ทำงานอยู่ที่เมืองนิวยอร์คเป็นเวลา 2 ปีแล้ว)                                                           
ข้อสังเกต : New York เป็นนามนำมาใช้เป็นคุณศัพท์ขยายนามที่ตามหลัง คือ City                                          

2. คำนามที่ใช้แสดงความเป็นเจ้าของ โดยมี Apostrophe ( 's ) มาใช้ควบนั้น นำมาใช้เป็น Adjective                         
ขยายนามได้ และให้เรียงไว้หน้านามตัวนั้นตลอดไป เช่น                                                       
John's house was built in Denver five years ago.                                    
(บ้านของจอห์นได้สร้างไว้ที่เดนเวอร์ เมื่อ 5 ปีมาแล้ว)                                                             
ข้อสังเกต : เป็นคำนามที่นำมาใช้เป็นคุณศัพท์ขยายนาม house ได้                                        
The teacher's table is larger than the students.                                         
(โต๊ะของครูมีขนาดใหญ่)                                                 
ข้อสังเกต : teacher's เป็นนาม นำมาใช้บยายนาม table ทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์ได้                                             

3. Infinitive (กริยาสภาวมาลา ได้แก่ to + V.1) นำมาใช้เป็นคุณศัพท์ขยายนามหรือสรรพนามได้ แต่วางไว้หลังนามที่มันขยายเสมอ เช่น
He has no money to give me for buying a pen.                                       
(เขาไม่มีเงินที่จะให้ฉันซื้อปากกา)                                                 
ข้อสังเกต : to give เป็น Infinitive นำมาใช้เป็น Adjective ขยายนาม money ได้                                              
This book is good for you to read.                                                              
(หนังสือเล่มนี้ดีสำหรับคุณที่จะอ่าน)                                                            
ข้อสังเกต : to read เป็น Infinitive นำมาใช้เป็นคุณศัพท์ขยายสรรพนาม you ได้                                              

4. Participle นำมาใช้เป็นคุณศัพท์ขยายนามได้ และให้วางไว้หน้านามที่มันไปขยายทุกครั้ง เช่น                                 
The standing boy is afraid of the running dog.                                                        
(เด็กชายที่ยืนอยู่กลัวสุนัขที่วิ่งมา)                                                   
ข้อสังเกต : standing, running เป็น Participle นำมาใช้เป็นคุณศัพท์ขยายนามได้                                              

5. Gerund (กริยานาม คือ Verb เติม ing แล้วนำมาใช้อย่างนามซึ่งจะได้กล่าวในบทต่อไปนี้เช่นกัน) นำมาใช้เป็น Adjective ขยายนามได้และวางไว้หน้านามนั้นตลอดไป เช่น
Now he is waiting for you in the meeting room.                                                    
(เดี๋ยวนี้เขากำลังรอคุณอยู่ที่ห้องประชุม)                                                      
ข้อสังเกต : meeting เป็น gerund นำมาใช้ทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์ขยายนาม room                                              

6. Phrase (วลีทุกชนิด) นำมาใช้เป็น Adjective ขยายนามหรือสรรพนามได้ ส่วนตำแหน่งวางของวลีคุณศัพท์นั้นอยู่หน้านามก็มี อยู่หลังนามก็มี เช่น
The man in this room is our guest.                                                              
(ผู้ชายที่อยู่ในห้องนี้เป็ฯแขกของเรา)                                                            
ข้อสังเกต : in this room เป็นวลีมาทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์มาขยายนาม man ที่อยู่ข้างหน้า                                               
He wants to buy the corner.                                                           
(เขาต้องการซื้อบ้านที่อยู่มุมถนนนั้น)                                                           
ข้อสังเกต : on the corner เป็นวลีมาทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์ขยายนาม house ที่อยู่ข้างหน้า                                               

7. Subordinate Clause (อนุประโยค) นำมาใช้เป็น Adjective ขยายนามได้ และให้วางไว้หลังนามที่ไปขยายทุกครั้ง เช่น                        
This is the house that Jack built.                                                  
(นี้คือบ้านที่แจ๊คสร้างเอาไว้)                                                            
ข้อสังเกต : that Jack built เป็น Subordinate Clause (ประเภทคุณานุประโยค) มาทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์ขยายนามhouse ที่วางอยู่ข้างหน้า
I know Mr. Clinton whom you want to see.                                                             
(ฉันรู้จัก มิสเตอร์คลินตัน ผู้ซึ่งคุณต้องการพบ)                                                          

ข้อสังเกต : whom you want to see เป็น Subordinate Clause (ประเภทคุณานุประโยค) มาทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์ขยายนามMr.Clinton ซึ่งวางอยู่ข้างหน้า

Adjective เวลานำไปพูดหรือเขียนมีวิธีใช้อยู่ 4 อย่างคือ


1. เรียงไว้หน้าคำนามที่คุณศัพท์นั้นไปขยายโดยตรงได้ เช่น                                                   
* The thin man can run very quickly.                                                        
(คนผอมสามารถวิ่งได้เร็วมาก)                                                       
* A wise boy is able to answer a difficult problem.                                               
(เด็กฉลาดสามารถตอบปัญหาที่ยากได้)                                                        
* The beautiful girl is wanted by a young boy.                                                       
(สาวสวยย่อมเป็นที่หมายตาของเด็กหนุ่ม)                                                   
ข้อสังเกต : thin , wise , difficult , beautiful ,young เป็น คุณศัพท์เรียงขยายไว้หน้านามโดยตรง
                                                               
2. เรียงไว้หลัง Verb to be, look feel,seem,get,taste,smell,                                    
turn,go,appear,keep,become,sound,grow,etc. ก็ได้ Adjective                                              
ที่เรียงตามกริยาเหล่านี้ ถือว่าขยายประธาน แต่วางตามหลังกริยา                                                           
เพราะฉะนั้นจึงมีชื่อเรียกได้อีกอย่างหนึงว่า Subjective Complement เช่น                                         
* I'm feeling a bit hungry.                                                             
(ฉันรู้สึกหิวนิดๆ)                                                                                               
* Sugar tastes sweet.                                                        
(น้ำตาลมีรสหวาน)                                                                                            
ข้อสังเกต: hungry และ sweet เป็น Adjective เรียงไว้หลัง                                                      
กริยา feeling และ tastes ทั้งนั้น                                                     
3. เรียงคำนามที่ไปทำหน้าที่เป็นกรรม (Object) ได้ ทั้งนี้เพื่อ                                                 
ช่วยขยายเนื้อความของกรรมนั้นให้สมบรูณ์ขึ้น Adjiective ที่ใช้ใน                                      
ลักษณะเช่นนี้เรียกว่าเป็น Objiective Complement เช่น                                                          
* Sam made his wife happy.                                                         
(แซมทำภรรยาของเขาให้มีความสุข)                                                            
* I consider that man mad.                                                            
(ฉันพิจารนาดูแล้วว่า ชายคนนั้นเป็นบ้า)                                                     
*This matter made me foolish.                                                     
(เรื่องนี้ทำให้ฉันโกรธไปได้)                                                           
ข้อสังเกต: happy,mad และ foolish เป็น Adjective ให้เรียง                                                   
หลังนาม และสรรพนามที่เป็น Object คือ wife,man,me                                                         
4. เรียง Adjective ไว้หลังคำนามได้ ไม่ว่านามนั้นจะทำหน้าที่เป็นอะไรก็ตาม ถ้า Adjective ตัวนั้นมี                         
บุพบทวลี (Perpositional Phrase)มาขยายนามตามหลัง เช่น                                                   
* A parcel posted by mail today will reach him tomorrow.                                 
(พัสดุที่ส่งทางไปรษณีย์วันนี้จะถึงเขาวันพรุ่งนี้)                                                        
ข้อสังเกต: posted เป็น Adjective เรียงตามหลังนาม parcal ได้เพราะมีบุพบทวลี by mail today มาขยายตามหลัง                    
* I have known the manager suitable for his position.                                          
(ฉันได้รู้จักผู้จัดการซึ่งก็มีความเหมาะสมสำหรับตำแหน่งของเขา)                                       
ข้อสังเกต: suitable เป็นคุณศัพท์ เรียงไว้หลังนาม manager ได้เพราะมีบุพบท วลี for his position มาขยายตามหลัง                                 
* ข้อยกเว้น ในการใช้ Adjecive บางตัวเมื่อไปขยายนาม                                                          

การใช้ Adjecive ไปขยายนามหรือประกอบนามตามแบบตั้งแต่ ข้อ 1 ถึง 4 นั้น หมายถึง Adjecive ทั่วไปเท่านั้น แต่ถ้าเป็นAdjective ที่จะกล่าวต่อไปนี้แล้วให้มีวิธีใช้ขยายนามหรือประกอบนาม ได้เพียงข้อใดข้อหนึ่งเท่านั้น คือ ประกอบหน้านาม หรือเรียงหลังกริยา จะใช้ทั้ง 2 อย่างไม่ได้ นั้นคือ