1. เรียงไว้หน้าคำนามที่คุณศัพท์นั้นไปขยายโดยตรงได้ เช่น
* The thin man can run very quickly.
(คนผอมสามารถวิ่งได้เร็วมาก)
* A wise boy is able to answer a difficult problem.
(เด็กฉลาดสามารถตอบปัญหาที่ยากได้)
* The beautiful girl is wanted by a young boy.
(สาวสวยย่อมเป็นที่หมายตาของเด็กหนุ่ม)
ข้อสังเกต : thin , wise , difficult , beautiful
,young เป็น คุณศัพท์เรียงขยายไว้หน้านามโดยตรง
2. เรียงไว้หลัง Verb to be, look
feel,seem,get,taste,smell,
turn,go,appear,keep,become,sound,grow,etc. ก็ได้ Adjective
ที่เรียงตามกริยาเหล่านี้ ถือว่าขยายประธาน แต่วางตามหลังกริยา
เพราะฉะนั้นจึงมีชื่อเรียกได้อีกอย่างหนึงว่า Subjective Complement เช่น
* I'm feeling a bit hungry.
(ฉันรู้สึกหิวนิดๆ)
* Sugar tastes sweet.
(น้ำตาลมีรสหวาน)
ข้อสังเกต: hungry และ sweet เป็น Adjective เรียงไว้หลัง
กริยา feeling และ tastes ทั้งนั้น
3. เรียงคำนามที่ไปทำหน้าที่เป็นกรรม (Object)
ได้
ทั้งนี้เพื่อ
ช่วยขยายเนื้อความของกรรมนั้นให้สมบรูณ์ขึ้น Adjiective ที่ใช้ใน
ลักษณะเช่นนี้เรียกว่าเป็น Objiective
Complement เช่น
* Sam made his wife happy.
(แซมทำภรรยาของเขาให้มีความสุข)
* I consider that man mad.
(ฉันพิจารนาดูแล้วว่า ชายคนนั้นเป็นบ้า)
*This matter made me foolish.
(เรื่องนี้ทำให้ฉันโกรธไปได้)
ข้อสังเกต: happy,mad และ foolish เป็น Adjective ให้เรียง
หลังนาม และสรรพนามที่เป็น Object คือ wife,man,me
4. เรียง Adjective ไว้หลังคำนามได้
ไม่ว่านามนั้นจะทำหน้าที่เป็นอะไรก็ตาม ถ้า Adjective ตัวนั้นมี
บุพบทวลี (Perpositional Phrase)มาขยายนามตามหลัง
เช่น
* A parcel posted by mail today will reach him tomorrow.
(พัสดุที่ส่งทางไปรษณีย์วันนี้จะถึงเขาวันพรุ่งนี้)
ข้อสังเกต: posted เป็น Adjective เรียงตามหลังนาม parcal
ได้เพราะมีบุพบทวลี
by mail today มาขยายตามหลัง
* I have known the manager suitable for his position.
(ฉันได้รู้จักผู้จัดการซึ่งก็มีความเหมาะสมสำหรับตำแหน่งของเขา)
ข้อสังเกต: suitable เป็นคุณศัพท์
เรียงไว้หลังนาม manager ได้เพราะมีบุพบท
วลี for his position มาขยายตามหลัง
* ข้อยกเว้น ในการใช้ Adjecive บางตัวเมื่อไปขยายนาม
การใช้ Adjecive ไปขยายนามหรือประกอบนามตามแบบตั้งแต่
ข้อ 1 ถึง 4 นั้น หมายถึง Adjecive ทั่วไปเท่านั้น แต่ถ้าเป็นAdjective ที่จะกล่าวต่อไปนี้แล้วให้มีวิธีใช้ขยายนามหรือประกอบนาม
ได้เพียงข้อใดข้อหนึ่งเท่านั้น คือ ประกอบหน้านาม หรือเรียงหลังกริยา จะใช้ทั้ง 2 อย่างไม่ได้ นั้นคือ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น